All posts by athicom123

ไม่แน่ใจว่า คิดเกมมาให้เล่น หรือ มาให้ผู้เล่นทรมาณกันแน่ !!!

ในเกมของพวกเรานั้น จะมีมอนสเตอร์ด้วยกันทั้งหมด 4 ตัวด้วยกัน !!!

ในตัวแรกนั้นจะมีความสามารถทำให้ไม่สามารถ Hold ตัว puzzle ด้วย

ตัวที่สอง ความเร็วในการ drop ลงมาของ puzzle ร่วงลงมาเร็วขึ้น สามารถ hold ได้แต่จะไม่สามารถเห็นตัวต่อไป และ ไม่สามารถเห็นว่าเรา hold ตัวอะไรไว้

ตัวที่สาม ความเร็วจะกลับมาเท่ากับด่านแรก แต่จะมีความสามารถสุดเกรียนอย่าง การที่ rotate puzzle ได้แค่ตัวเว้นตัว!!! แต่ก็ยังมีความสามารถ hold เอาไว้ให้ใช้อย่างอุ่นใจแต่ทว่า ! ยังมีความสามารถในการ regeneration (การเพิ่มเลือด) ในทุกๆประมาณ 20 วินาที จะ regeneration ขึ้นมา 1 hp

ส่วนในตัวสุดท้ายตัวที่สี่ เป็นลาสบอส ที่มีความสามารถในการที่จะสลับปุ่มต่างๆ นอกจากนี้จะมีการสุ่มรูปแบบของปุ่มใหม่ทุกๆ 10 แถวที่เคลีย !!

บอกตามตรงว่าพวกผมเล่นยังผ่านแบบลากเลือดกันเลยทีเดียว ;w;

~Piyapon

troll

อาร๊ายน้าาาาาา!! ทำม่ายด้ายยยยยยยยยย!?!?

อะแฮ่ม…สืบเนื่องมาจากการประชุมหลังจากการนำเสนอ(นานเป็นชาติล่ะ) ว่า “จะนำเกมส์ tetris ที่เป็นโค้ด java มา apply ลง โปรแกรมสร้างเกมส์เพื่อทำให้ tetris กลายเป็นเกมส์แนวตีมอนส์+turn base + add effect+อื่นๆ โดยโปรแกรมที่เล็งไว้คือ unity” หลังจากนั้น พอทำการศึกษาเกมส์ unity สักพัก และลอง apply code ลง unity ดู พบว่า…..

ทำม่านด้ายยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยยย!!!

เพราะ unity รองรับแค่ java script กะ c# เท่านั้น…ทำให้ถ้าจะทำ unity จริงๆ ก็ต้องเขียนใหม่ในภาษาอื่น………..

ปัญหาล่ะครับ ภาษาอื่นนี่ ใช้เป็นที่ไหน … แล้วจะเขียน tetris ยังไง …..(เวลาไม่พอจะศึกษาน่ะนะ)

ก็เลยลอง ใช้โปรแกรมเกมส์ engine อื่นดู นั่นก็คือ jmonkey engine ……

ทำไปทำมา ได้ข้อสรุปว่า..”ใช้ unity เขียนเหอะครัช อาจต้องเขียนโค้ดใหม่ แต่ดูดีกว่า jmonkey ละกัน (ข้อสรุปจากฝ่ายพัฒนา)”

จึงเป็นมาว่า อยู่ระหว่างการใช้ unity เด้อ

ดังพรรณณามา ด้วยประการฉะนี้แลฯ

Puzzle block is coming !!

หลังจากที่เราได้ลองผิดลองถูกกันมาในการที่จะสร้างตัว tetris puzzle ขึ้นที่มีทั้งหมด 7 ตัวนั้น

เราได้เริ่มจากการที่นำรูปมาเทียบเป็น pixel แล้วเทียบอัตราส่วนกับตัวจอ display

แต่หลังจากนั้น ผมก็ได้ทดลองการสร้าง block ด้วยการที่ใช้ตัวแปร boolean โดยที่ให้ช่องต้องการแสดงเป็น true และไม่ต้องการแสดงให้เป็น false โดยที่ประกาศเป็นตัวแปร array 3 มิติ

มิติแรกเป็นตัวบอกว่าเป็นตัวที่เท่าไหร่ ,มิติที่สองและสามเป็นตัวที่แสดง boolean ว่าจะเป็นรูปแบบไหน

หลังจากนั้นเราก็ใช้ loop for ในการ print รูปแบบต่างๆ

~Piyapon

What’s we got Today?

วันนี้จากการที่ได้ศึกษาคำสั่งต่างๆของ Java แล้ว

ผลที่ได้วันนี้คือสร้างหน้าต่างของโปรแกรมให้โชว์ขึ้นมาได้แล้ว แต่ยังไม่ได้กำหนด GUI(Graphic User Interface) ขึ้นมา

หน้าต่างโปรแกรมครั้งแรก

ก็อย่างที่เห็นแหล่ะครับ วันนี้ก็มีเพียงเท่านี้ ถ้ามีความคืนหน้าใดๆอีกจะอัพเดตให้ชมกันนะครับ

~Chutichai

ประวัติของเกมส์Tetris

ในรหว่างที่กำลังรอพวกเราพัฒนาแอฟฟลิเคชั่นTetrisกันอยู่เรามาลองอ่านประวัติของเกมส์Tetrisกันดีกว่า

Tetris ถูกคิดค้นโดยชาวรัสเซียชื่อ Alexley Pajitnov ในปี 1985 ที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร ในกรุงมอสโคว์ โดยได้รับแรงบันดาลใจ มาจากเกมที่ชื่อว่า pentominoes , Tetris เป็นเกมที่โด่งดังมาก และมีลงในเครื่องทุกชนิด ที่สามารถเล่นเกมได้ สำหรับเกมส์นี้สามารถเล่นได้ทุกวัยเพราะมีวิธีการเล่นที่สามารถเข้าใจได้ง่ายโดยจะมีตัวต่อหล่นลงมาเรื่อยเราต้องเรียงตัวต่อให้ครบแถวและห้ามไม่ให้ตัวต่อล้นขึ้นไปด้านบนส่วนวิธีการนับคะแนนคือ

  • ได้หนึ่งแถว คะแนนจะเป็น (n*40+40) เรียก Single
  • ได้สองแถว คะแนนจะเป็น (n*100+100) เรียกว่า Double
  • ได้สามแถว คะแนนจะเป็น (n*300+300) เรียกว่า Triple
  • และสุดท้าย ได้สี่แถว พร้อมกัน คะแนนจะเป็น (n*1200 + 1200) เรียกว่าTetris ทั้งหมดนี้โดย n คือ level

~Thanakit

In Process !!

หลังจากที่พี่ตูน ได้ให้คำแนะนำจึงเปลี่ยนมาใช้โปรแกรม JAVA พวกเราก็ได้ไปศึกษาและได้ทดลองการเขียนโปรแกรมด้วยภาษา JAVA

และในวันนี้ก็ได้เริ่มเขียนโปรแกรม tetris กันสักที โดยที่แยกงานกันทำระหว่าง GUI กับ ตัวเกม Code

Keep fighting !!

-Piyapon

1nov2014

Java เบื้องต้นกับพี่ TA

หลังจากที่เปลี่ยนแนวทางการดำเนินการของ Project มารันบนคอมพิวเตอร์แล้ว ความจำเป็นที่เพิ่มขึ้นมาก็คือ การเขียน Java ซึ่งวันนี้ก็ได้พี่ตูน TA ของกลุ่มมาช่วยสอน และแนะนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมด้วย Java เบื้องต้น คือ
-Hello World -การเช็คค่า if-else แบบง่ายๆ

และยังได้อธิบายถึงข้อดีของการเขียนโปรแกรมด้วย Java อีกด้วย

System.out.println(“Thanks to p’Toon very much krub “);

~Chutichai